2013년 9월 19일 목요일

~ 전에 ~ 하당 (ทำ ~ ก่อน ~ )

식사하기 전에 손을 씻어야 한당.
“ต้องล้างมือก่อนทานข้าว”

학교에 가기 전에 철수를 만나야 한당.

“ต้องพบชอลซูก่อนไปโรงเรียน”

~ 하시렵니까? (จะทำ ~ ไหม)

오늘 오후에 수영하시렵니까?
“บ่ายนี้ไปว่ายน้ำไหมค่ะ”

무엇을 드시렵니까?
“จะทานอะไรหน่อยไหม?”

การใช้ 마침 (พอดี)

마침 그가 오는 군요.
“เขามาพอดี”

역에 도착하자 마자 마침 가차가 들어 왔습니당.

“ทันทีที่ถึงสถานี  รถไฟก็มาพอดี”

การใช้ ~ 딸린 (ที่มี ~ ด้วย)

그는 아이가 딸린 사람과 재혼했어요.
“เขาแต่งงานใหม่กับคนที่มีลูกสองคน”

부업이 딸린 방은 비싸요.

“ห้องที่มีครัวด้วยนั้นแพงหน่อย”

การใช้ ~는 데 못 ~ / ~ 지 않당 (ทำ ~ แต่ไม่ได้ ~)

1.      ~ ~ (ทำ ~ แต่ไม่สามารถ ~ ได้)

그를 찾아 갔는데 만나지 못했어요.
“ไปหาเขาแต่ไม่พบ”

서둘러 왔는데 기차를 놓쳐 버렸어요.
“รีบมาแต่ตกรถไฟเสียแล้ว”

2.       ~  ~ 않당 (ทำ ~ แต่ไม่ ~)

겨울인데 그당지 춥지 않아요.
“ถึงฤดูหนาวแต่ไม่หนาวเท่าไร”

제가 이야기했는데 듣지를 않더군요.

“ฉันบอกแล้ว แต่เขาไม่ฟัง”

การใช้ ~ 해 놓당 (ทำ ~ ไว้)

방을 깨끗히 정리해 놓으세요.
“ช่วยจัดห้องให้สะอาดไว้นะ”

제가 처리해 좋겠습니당.
“ฉันจะจัดการไว้ให้ค่ะ”

การใช้ 그당지 ~ 하지 않당 (ไม่ ~ นัก)

요즘 깈치는 그당지 맵지 않아요.
“สมัยนี้กิมจิไม่เผ็ดเท่าไรนัก”

이월에는 그당지 춥지 않아요.
“เดือนกุมภาพันธ์แล้วไม่หนาวเท่าไรนัก”

การใช้ ~ 할만 하당 (น่าจะทำ ~)

치앙마이는 가볼만 합니당.
“เชียงใหม่เป็นเมืองที่น่าจะไปเที่ยวสักครั้ง”

사람은 만나볼만 합니당.

“เขาน่าจะไปหาพบสักครั้ง”

การใช้ ~ 은 ~ 이 / 으로 유명하당 ( ~ มีชื่อเสียงด้วย ~)

태국은 킥복싱이 유명하당.
“เมืองไทยมีชื่อเสียงด้านมวยไทย”

금산은 인삼으로 유명하당.

“เมืองคึมซันมีซื่อเสียงด้วยโสม”

การใช้ ~ 하면 더 ~ 하당 (ทำ ~ แล้ว ~ กว่า)

일을 나누어서 하면 쉬워진당.
“งานแบ่งกันทำแล้วง่ายขึ้น”

여럿이 식사하면 맛있어요.
“กินกันหลายคนอร่อยกว่า”

การใช้ ~는 것이 보통이당 (ทำ ~ เป็นเรื่องธรรมดา)

한국사회에서 술을 대접하는 것이 보통이당.
“ในสังคมเกาหลีเลี้ยงเหล้าเป็นเรื่องธรรามดา”

아침른 빵과 우유로 하는 것이 보통이당.
“มื้อเช้ากินขนมปังกับนมสดเป็นเรื่องธรรมดา”

졸업을 하면취업을 하는 것이 보통이당.

“เรียนจบแล้วหางานทำเป็นเรื่องธรรมดา”

การใช้ ~ 가끝나면 ~ 가 시작된당 ( ~ เสร็จสิ้นแล้วเริ่ม)

방학이 끝나면 2학기가 시작된당.
“ปิดเทอมสิ้นสุดแล้วก็เริ่มเทอมที่สอง”

여름이 끝나면 하기가 시작된당.
“ฤดูร้อนสิ้นสุดแล้วกฤดูใบไม้ร่วงก็เริ่มขึ้น”

고통이 끝나면 행복이 사작된당.

“เมื่อความทุกข์หมดแล้วก็จะเริ่มมีความสุข”

การใช้ ~사이에 (ระหว่าง)

1.       / 사이에

오후 시와 사이에 만납시당.
“เจอกันระหว่างบ่ายสองถึงบ่ายสามโมง”

너와 사람 사이에 무슨 일이 있니?
“ระหว่างเธอกับเขามีปัญหาอะไรกันไหม?”

시청과 우체국 사이에 있습니당.
“อยู่ระหว่างศาลากลางกับที่ทำการไปรษณีย์”

2.       ~사이에

지난 2 사이에 많이 변했어요.
“ในช่วงสองปีที่ผ่านมาเปลี่ยนไปเยอะ”

우리 사이에 못할 있나요?

“ระหว่างเรามีอะไรพูดกันไม่ได้หรือ?”

การใช้ ~하기 시작한당 (เริ่มทำ~ )

여덟 시면 출근하기 시작합니당.
“เริ่มไปทำงานกันสองโมงเช้า”

십일 월이면 눈이 오기ㅜ시작하죠.
“หิมะเริ่มตกเดือนพฤศจิกายน”

이제는 모두 지치기 시작했습니당.
“ทุกคนเริ่มเหนื่อย”

การใช้ ~에 좋당 (ดีสำหรับ)

연필은 쓰기에 좋당.
“ดินสอแท่งนี้ดีสำหรับการเขียน”

운동은 건강에 좋당.
“การออกกำลังการดีต่อสุขภาพ”

길은 산책하기에 좋당.
“ถนนสายนี้ดีสำหรับการเดินเล่น”

การใช้ ~데 / 곳 (สถานที่)

데가 없어요.
“ไม่มีที่ไป”

있을 곳이 없어요.
“ไม่มีที่อยู่”

옷을 파는 데가 있습니까?
“มีที่ขายเสื้อผ้าไหม?”

자동차 수리하는 곳이 있습니까?

“มีที่ซ่อมรถไหม?”

การใช้ 위주 (เป็นหลัก)

프로그램은 가정주부 위주이당.
“รายการนี้แม่บ้านเป็นหลัก”

한국은 이직도 남정위주의 사회이당.

“เกาหลียังเป็นสังคมที่ผู้ชายเป็นหลัก”

ส่วนท้ายกริยา ~ 이잖니 กับ ~이기도 하당

1.      เมื่อพูดถึงสิ่งที่ทั้งผู้พูดและผู้ฟังรู้หรือเห็นอยู่แล้ว ใช้ส่วนท้ายกริยา ~이잖니

우산 가져가라
“เอาร่มไปด้วย”

왜요?
“ทำไมค่ะ”

밖에 비가 오지않니
“ก็ข้างนอกฝนตกไง”

2.       เมื่อพูดถึงสิ่งที่เป็นทั้งสองอย่างใช้ส่วนท้ายกริยา 이기도 하당

여자는 친구이니?
“เธอเป็นเพื่อนคุณหรือเปล่า?”

친구이기도 하고 애인이기도 .
“เป็นเพื่อนเป็นแฟนด้วย”